วันพุธที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2563

Learning log 11


🌻 บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11🌻
🍏วันศุกร์ที่ 24 เมษายน เวลา 12 : 30 - 15:30 น.🍏
🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌼🌷🌼🌼🌷🌼

🍒 สิ่งที่ได้เรียนรู้ 🍒
การวัดและประเมินผลพัฒนา คือ กระบวนการต่อเนื่องเป็นส่วหนึ่งของกิจกรรมที่จัดให้ 
เด็กเรียนรูในแต่ละครั้งเพื่อนำข้อมูลที่ได้มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับพัฒนาเด็ก รวมถึงความคิดสร้างสรรค์ด้วย

🌷หลักการวัดและประมเินผลพัฒนาการ
1. ประเมินพัฒนาการเด็กทุกด้าน
2. ประเมินรายบุคคลอย่างสม่ำเสมอ
3. การประเมินต้องมีลักษณะเดียวกัน
4. จัดทำการประเมินอย่างเป็นระบบ


🌲 ตัวอย่างเทคนิควิธีวัดความคิดสร้างสรรค์
1. การสังเกต คือ การสังเกตพฤติกรรมของเด็กที่แสดงออกเชิงสร้างสรรค์
ตัวอย่างเช่น 📝📝 การเล่น การทำกิจกรรม การแสดงละคร

2. การวาดภาพ คือ การให้เด็กกวาดภาพแสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์
ตัวอย่างเช่น 📝📝 การต่อเติมภาพจากรูปสี่เกหลี่ยม สามเหลี่ยม
3. แบบทดสอบ คือ การให้เด็กทำแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์
ตัวอย่างเช่น 📝📝 การใช้ภาพเป็นสื่อ การใช้ภาษาเป็นสื่อ
 













🎨หลังจากนั้นอาจารย์ให้ทำกิจกรรมในคลาส ดังนี้
กิจกรรมที่ 1 ให้ตอบคำถามท้ายบท 2
กิจกรรมที่ 2 ให้คิดกิจกรรมสร้างสรรค์จากสื่อธรรมชาติ






🍉การประเมิน
🍉
ประเมินผู้สอน
- ครูตั้งใจสอนดีมากค่ะ มีการนำเสนอพาวเวอร์พ้อยและอธิบายเพิ่มเติม
ประเมินเพื่อน
- เพื่อนตั้งใจเรียน มีความสุขในการเรียน
ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียน มีส่วนร่วมในการเรียน ตอบคำถาม

Learning log 10

🌻 บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10🌻
🍏วันศุกร์ที่ 17 เมษายน เวลา 12 : 30 - 15:30 น.🍏
🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌼🌷🌼🌼🌷🌼

🍒 สิ่งที่ได้เรียนรู้ 🍒
🥑การเคลื่อนไหวและจังหวะ คือ อัตราช้าเร็วของการเคลื่อนไหวจากการกระทำ เช่น ปรบมือ เคาะ ตี
การเคลื่อนไหวและจังหวะสำหรับเด็กปฐมวัย เช่น การเดิน การวิ่ง การกระโดด ใช้การประสานสัมพันธ์กล้ามเนื้อกับตา
🥑ความสำคัญของการเคลื่อนไหวและจังหวะ 
- ทำให้รู้สึกผ่อนคลายจากความเครียด
อาจารย์ให้ทำกิจกรรมในคลาสเรียน ดังนี้
- กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมโยคะ อัดคลิปท่าโยคะที่เหมาะสมสำหรับ
เด็กปฐมวัย

- กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเต้นประกอบเพลง คิดท่าเต้นให้เหมาะสมสำหรับเด็กปฐมวัย


🌷 การประเมิน 🌷
ประเมินผู้สอน
- อาจารย์แต่งกายสุภาพ เป็นห่วงนักศึกษาทุกคน มอบหมายงานให้ทำตามเวลาที่กำหนด
ประเมินเพื่อน
- เพื่อนตั้งใจเรียน มีความรับผิดชอบในการทำงานสูง
ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียน มีส่วนร่วมในการเรียน มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย

วันศุกร์ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2563

Learning log 9

🌻 บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9🌻
🍏วันศุกร์ที่ 10 เมษายน เวลา 12 : 30 - 15:30 น.🍏
🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌼🌷🌼🌼🌷🌼

🍒 สิ่งที่ได้เรียนรู้ 🍒
อาจารย์ให้ทำกิจกรรม โดยเตรียมกระดาษคนละ 2 แผ่น
- กิจกรรมที่ี 1 กิจกรรมออกแบบตัวเลข 1-9 เป็นรูปภาพที่สร้างสรรค์
- กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมตัดกระดาษสามเกลี่ยมและนำมาต่อกันอย่างอิสระ
เลข 1 รูปเรือใบ⛵
เลข 2 รูปหงษ์🦢
เลข 3 รูปผีเสื้อ🦋
เลข 4 รูปว่าว🪁
เลข 5 รูปรถยนต์🚙
เลข 6 รูปองุ่น🍇
เลข 7 รูปกล่องของขวัญ🍱
เลข 8 รูปโสนว์แมน🧙‍♂️
เลข 9 ไอศครีม🍨



🍉การประเมิน 🍉
ประเมินผู้สอน
- ครูตั้งใจสอนดีมากค่ะ มีการนำเสนอพาวเวอร์พ้อยและอธิบายเพิ่มเติม
ประเมินเพื่อน
- เพื่อนตั้งใจเรียน มีความสุขในการเรียน
ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียน มีส่วนร่วมในการเรียน ตอบคำถาม


Learning log 8

🌻 บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8🌻
🍏วันศุกร์ที่ 3 เมษายน เวลา 12 : 30 - 15:30 น.🍏
🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌼🌷🌼🌼🌷🌼

🍒 สิ่งที่ได้เรียนรู้ 🍒
1. ทักษะวิทยาศาสตร์ 8 ทักษะ ที่เหมาะสมสำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่
1.1 ทักษะการสังเกต ( Observing )
1.2 ทักษะการวัด ( Measuring )
1.3 ทักษะการจำแนกหรือทักษะการจัดประเภทสิ่งของ ( Classifying )
1.4 ทักษะการใช้ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา( Using Space/Relationship )
1.5 ทักษะการคำนวณและการใช้จำนวน ( Using Numbers )
1.6 ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล ( Comunication )
1.7 ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล ( Inferring )
1.8 ทักษะการพยากรณ์ ( Predicting )


องค์ประกอบความคิดสร้างสรรค์
1. ความคิดริเริ่ม การกล้าแสดงออก กล้าที่จะลงมือทำ

2. ความคิดคล่องแคล่ว
3. ความคิดยืดหยุ่น
4. ความคิดละเอียดลออ

กิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
ต้องเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กเป็นผู้ค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
ครูต้องยอมรับฟังคำถามจากเ็ก สร้างยรรยากาศให้เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้


กิจกรรมวิทยาศาสตร์กับการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
ครูต้องคำนึงถึงประโยชน์ที่เด็กได้รับเชิงสร้างสรรค์ กิจกรรมต้องเปิดกว้าง
หลังจากนั้นอ.ให้ทำงานคู่วิทยาศสาตร์
ชื่อกิจกรรม “นักโดดร่มตัวจิ๋ว” 
ความคิดรวบยอด
ลมเป็นปัจจัยที่ทำให้วัตถุลอยได้และโลกมีแรงโน้มถ่วงทำให้วัตถุที่ลอยอยู่บนฟ้าตกลงมา
วัตถุประสงค์
1. เด็กสามารถคิดวิธีการทำร่มชูชีพจากอุปกรณ์ที่กำหนดให้ได้
2. เด็กสามารถบอกวิธีการเล่นร่มชูชีพได้
สื่อและอุปกรณ์
อุปกรณ์ที่ทำตัวร่ม
1. ถุงพลาสติก
2. กระดาษว่าว
3. ผ้าเช็ดหน้า
4. ผ้าร่ม
5. เชือก
6. ตุ๊กตายาง
7. ดินน้ำมัน
การจัดกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันแนะนำกิจกรรมและอุปกรณ์
2. เด็กทำร่มชูชีพโดยใช้กระดาษว่าว โดยครูใช้คำถาม ดังนี้
“เด็กๆจะนำอุปกรณ์ที่มีอยู่ทำเป็นร่มชูชีพได้อย่างไร”
“เด็กๆคิดว่าใช้อะไรทำเป็นร่มชูชีพแทนกระดาษว่าวได้บ้าง”
“เด็กๆจะนำอะไรมาผูกกับร่มชูชีพแทนตุ๊กตา”
“เด็กๆคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้นถ้าเราโยนร่ม...ขึ้นบนฟ้า”
“จะทำอย่างไรให้ร่ม...ลอยได้นานๆ”
“เด็กๆมีวิธีการโยนร่มชูชีพได้กี่วิธี”
“เด็กๆเคยเห็นอะไรลอยบนฟ้าบ้าง”
3. เด็กนำเสนอประสบการณ์ โดยเล่าเกี่ยวกับการทำร่มชูชีพจากอุปกรณ์ต่างๆ โดยครูบันทึกคำบอกเล่าลงในกระดาษแผ่นใหญ่
4. ส่งเสริมให้เด็กวาดภาพร่มชูชีพตามจินตนาการ
5. ทำร่มชูชีพจากอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ถุงพลาสติก
การวัดประเมินผล
1. ความคิดริเริ่ม สังเกตการทำร่มชูชีพด้วยวิธีต่างๆ ที่ทำให้ร่มชูชีพตกช้าลง สังเกตการณ์ตอบคำถามที่แปลกใหม่
2. ความคิดคล่องแคล่ว สังเกตการตอบคำถามที่รวดเร็ว ตอบได้ทันที หลากหลายคำตอบ
3. ความคิดยืดหยุ่น สังเกตการเปลี่ยนวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำร่มชูชีพ หรือสังเกตจากการดัดแปลงวิธีคิดเดิมๆ
4. ความคิดละเอียดลออ สังเกตจากการตอบคำถาม การอธิบายและการให้เหตุผลในการเลือกวิธีการต่างๆ เช่น เลือกใช้ถุงพลาสติกทำเป็นตัวร่มเพราะอะไร
🍉การประเมิน 🍉
ประเมินผู้สอน
- ครูตั้งใจสอนดีมากค่ะ มีการนำเสนอพาวเวอร์พ้อยและอธิบายเพิ่มเติม
ประเมินเพื่อน
- เพื่อนตั้งใจเรียน มีความสุขในการเรียน
ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียน มีส่วนร่วมในการเรียน ตอบคำถาม

วันศุกร์ที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2563

Learning log 7

🌻 บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7🌻
🍏วันศุกร์ที่ 27 มีนาคม เวลา 12 : 30 - 15:30 น.🍏
🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌼🌷🌼🌼🌷🌼

🍒 สิ่งที่ได้เรียนรู้ 🍒
🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌼🌷🌼🌼🌷🌼
🌼 ทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์ที่เหมาะสำหรับเด็กปฐมวัยที่สุด
ทักษะการสังเกต

ทักษะการจำแนกประเภท
ทักษะการสื่อความหมาย
ทักษะการพยากรณ์

🌻 สะเต็มศึกษา
แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรู้ใน 4 วิชา ได้แก่ 

วิทยาศาสตร์ 
วิศวกรรม 
เทคโนโลยี 
คณิตศาสตร์

 🌷โดยเน้นการนำความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการทำงาน ช่วยนักเรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่าง 4 สหวิทยาการ กับชีวิตจริงและการทำงาน การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาเป็นการจัดการเรียนรู้ที่ไม่เน้นเพียงการท่องจำทฤษฎีหรือกฏทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ แต่เป็นการสร้างความเข้าใจทฤษฎีหรือกฏเหล่านั้นผ่านการปฏิบัติให้เห็นจริงควบคู่กับการพัฒนาทักษะการคิด ตั้งคำถาม แก้ปัญหาและการหาข้อมูลและวิเคราะห์ข้อค้นพบใหม่ๆ พร้อมทั้งสามารถนำข้อค้นพบนั้นไปใช้หรือบูรณาการกับชีวิตประจำวันได้

🍉การประเมิน 🍉
ประเมินผู้สอน
- ครูตั้งใจสอนดีมากค่ะ มีการนำเสนอพาวเวอร์พ้อยและอธิบายเพิ่มเติม
ประเมินเพื่อน
- เพื่อนตั้งใจเรียน มีความสุขในการเรียน
ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียน มีส่วนร่วมในการเรียน ตอบคำถาม

Learning log 6

🌻 บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3🌻
🍏วันศุกร์ที่ 20 มีนาคม เวลา 12 : 30 - 15:30 น.🍏
🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌼🌷🌼🌼🌷🌼

🍒 สิ่งที่ได้เรียนรู้ 🍒
ทางมหาวิทยาลัยสั่งปิดไม่ให้มีการเรียนการสอน
เนื่องจาก COVID-19 อ.จึงต้องสอนด้วยระบบออนไลน์
อาจารย์ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันในเรื่องที่เกิดขึ้น
สอบถามเพิ่มเติมว่าใครประสบปัญหาให้แจ้ง จะได้รับมือช่วยเหลือ

🌎 ภาพการเรียนระบบออนไลน์ 🌎
🍄อาจารย์ได้มอบหมายงานทั้งหมด 4 งาน โดยทำเป็นคู่
โดยมีระยะเวลาในการทำถึง 19.00 น. เพื่อไม่ให้เกิดการสะสมงาน
1. แต่งนิทาน
2. แต่งคำคล้องจอง
3. ปริศนาคำทาย
4. กิจกรรมส่งเสริมการฟัง
🍇 การนำไปประยุกต์ใช้🍇
- การนำนิทานไปใช้กับเด็กให้เด็กแสดงบทบาทสมมติหรือให้เด็กแต่งนิทาน
- ปริศนาคำทายและคำคล้องนำไปใช้ในขั้นนำก่อนการสอน
- กิจกรรมส่งเสริมการฟังนำไปต่อยอดเช่น เปลี่ยนเสียงเป็ยเสียงอื่นได้

🍉การประเมิน 🍉
ประเมินผู้สอน
- ครูตั้งใจสอนดีมากค่ะ มีการนำเสนอพาวเวอร์พ้อยและอธิบายเพิ่มเติม
ประเมินเพื่อน
- เพื่อนตั้งใจเรียน มีความสุขในการเรียน
ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียน มีส่วนร่วมในการเรียน ตอบคำถาม

Learning log 4

🌻 บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10🌻
🍏วันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ เวลา 12 : 30 - 15:30 น.🍏
🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌷🌼🌼🌷🌼🌼🌷🌼

ลาป่วยเนื่องจากป่วย


ได้มีการสอบถามสิ่งที่ได้เรียนรู้ในวันนี้ สรุปได้ดังนี้
- การเล่น คือ การที่เด็กได้ลงมือกระทำผ่านประสาทสัมผผัสทั้ง 5 ทำให้เกิความสนุกสนาน
สามารถปรัวตัวเข้ากับเพื่อนได้
- การเล่นสร้างสรรค์เป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้เล่นอย่างอิสระ ปรับตัวเข้ากับเพื่อน
- การคิดสื่อที่สร้างสรรค์ ของลเ่น สำหรับเด็กปฐมวัยมานำเสนอ